วันพุธที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2560

สเปคคอมพิวเตอร์และราคา

1.การใช้งานทั่วไป

CPU INTEL Pentium G4500
MB ASROCK B150M PRO4
RAM KINGSTON DDR4 4GB 2133
HDD Toshiba 500GB
PSU Linkworld LW2-600W
CASE CUBIC Alpha
MONITOR LENOVO LI2215s

2.การใช้งานสำหรับสำนักงาน

CPU INTEL Pentium G4560
MB MSI H110M PRO-VD PLUS
RAM KINGSTON Hyper-X Fury DDR4 8GB (4GBx2) 2400 Black x 1
HDD Western Digital Blue 1TB WD10EZEX x 1
PSU TSUNAMI Black Strom 550W
CASE AERO COOL CS-100 (Black)
MONITO RACER S200HQLHb x 1

3.โปรแกรมฟราฟฟิกและสื่อสิ่งพิมพ์

CPU INTEL Core i5-7400
MB MSI H110M-A PRO M2
VGA GALAX GT1030 EXOC WHITE 2GD5 2GB 
RAM Apacer PANTHER DDR4 8GB 2133 (8GBx1) Glay 
HDD Western Digital Blue 1TB WD10EZEX 
PSU TSUNAMI Black Strom 550W
CASE AERO COOL CS-1102 (Black)
COOLING ZALMAN CNPS10X Performa+
MONITOR BENQ GW2270 

4.การใช้งานกราฟฟิกขั้นสูง 


CPU INTEL Core i7-7700
MB GIGABYTE GA-X150M-PLUS WS
VGA LEADTEK Quadro K620 DDR3 2GB 
RAM G.SKILL Trident Z RGB DDR4 3200 32GB (16GBx2) 
HDD Western Digital Purple 2TB 20PURX 
SSD Western Digital WD BLUE 250GB 
PSU SILVERSTONE ST70F-PB 700W
CASE IN WIN 707 White
COOLING COOLER MASTER V8 GTS
MONITO RLG 27UD58 

5.การใช่งานสำหรับเล่นเกม 

CPU AMD Ryzen 7 1700
MB GIGABYTE AX370 GAMING 5
VGA GIGABYTE GTX1070 G1 GAMING 8GB 
RAM CORSAIR Dominator Platinum DDR4 3000 32GB 
HDD SEAGATE BARRACUDA 2TB
SSD KINGSTON Hyper-X Savage 480GB 
PSU ANTEC HCP-1000
CASE THERMALTAKE Core P5
COOLING COOLER MASTER Hyper 212 LED Turbo
MONITO RAOC AGON AG322FCX
 

สำหรับงานประมวลผลแบบที่2 *(จอภาพขนาดไม่น้อยกว่า19นิ้ว)ราคา30,000 บาท

  • มีหน่วยประมวลผลกลาง(CPU) ไม่น้อยกว่า 4 แกนหลัก(4 core) หรือ 8 แกนเสมือน(8 Thread) โดยมีความเร็วสัญญาณนาฬิกาพื้นฐานไม่น้อยกว่า3.2GHzจำนวน 1 หน่วย
  • หน่วยประมวลผลกลาง(CPU)มีหน่วยความจำแบบ Cache Memoryขนาดไม่น้อยกว่า8 MB
  • มีหน่วยประมวลผลเพื่อแสดงภาพ โดยมีคุณลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือดีกว่า ดังนี้
   1)เป็นแผงวงจรเพื่อแสดงภาพแยกจากแผงวงจรหลักที่มีหน่วยความจ าขนาดไม่น้อยกว่า 1 GB
   2)มีหน่วยประมวลผลเพื่อแสดงภาพติดตั้งอยู่ภายในหน่วยประมวลผลกลาง แบบ Graphics Processing Unit ที่สามารถใช้หน่วยความจำหลักในการแสดงภาพขนาดไม่น้อยกว่า 1 GB
   3)มีหน่วยประมวลผลเพื่อแสดงภาพติดตั้งอยู่บนแผงวงจรหลัก แบบ Onboard Graphics ที่มีความสามารถในการใช้หน่วยความจ าหลักในการแสดงภาพขนาดไม่น้อยกว่า 1 GB
  • มีหน่วยความจำหลัก(RAM) ชนิดDDR3หรือดีกว่ามีขนาดไม่น้อยกว่า 8 GB 
  • มีหน่วยจัดเก็บข้อมูล(Hard Drive) ชนิดSATA หรือดีกว่าขนาดความจุไม่น้อยกว่า 2 TB หรือชนิด Solid State Driveขนาดความจุไม่น้อยกว่า240GBจำนวน1 หน่วย
  • มีDVD-RW หรือดีกว่าจำนวน1 หน่วย
  • มีช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่าย(Network Interface) แบบ10/100/1000 Base-T หรือดีกว่าจำนวนไม่น้อยกว่า1 ช่อง
  • มีแป้นพิมพ์และเมาส์
  • มีจอภาพแบบLCD หรือดีกว่า มีContrast Ratio ไม่น้อยกว่า600:1 และมีขนาดไม่น้อยกว่า19 นิ้วจำนวน1 หน่วย 
 
Keyboard OKER (KB-188) Black
 
 
CPU AMD FX-8320
MB ASUS A88XM-A USB 3.1
VGA GIGABYTE R7 350 Over Clock 2GB 
RAM KINGSTON Hyper-X Fury DDR3 16GB (8GBx2) 1600 Black 
HDD Western Digital Purple 2TB 20PURX 
SSD SAMSUNG 750 EVO 250GB
PSU RAIDMAX Cobra 600W
CASE AERO COOL QS-182 (Black)
COOLING COOLER MASTER Hyper TX3
MONITO RACER S220HQLEBD
Keyboard OKER (KB-188) Black
Keyboard USB OKER (KB-188) Black ราคา 245 บาท
Mouse USB OKER (G69) Black ราคา 470 บาท
ราคาวรม 26,825 บาท
USB Keyboard OKER (KB-188) Black

วันพุธที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2560

Power Supply ATX Connector

Power Supply 

     แหล่งจ่ายไฟสำหรับคอมพิวเตอร์ หรือ พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply) เป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญอย่างมากต่ออุปกรณ์เกือบทุกตัวในระบบคอมพิวเตอร์ ซัพพลายของคอมพิวเตอร์นั้นมีลักษณะการทำงาน คือทำหน้าที่แปลงกระแสไฟฟ้าจาก 220 โวลต์ เป็น 3.3 โวลต์, 5 โวลต์ และ 12 โวลต์ ตามแต่ความต้องการของอุปกรณ์นั้นๆ โดยชนิดของพาวเวอร์ซัพพลาย ในคอมพิวเตอร์จะแบ่งได้เป็น 2 ชนิดตามเคส คือแบบ AT และแบบ ATX

ประเภทของ Power Supply แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่คือ

  • AT เป็นแหล่งจ่ายไฟที่นิยมใช้กันในประมาณ พ.ศ. 2539 โดยปุ่มเปิด - ปิด การทำงานเป็นการต่อตรงกับแหล่งจ่ายไฟ ทำให้เกิดปัญหากับอุปกรณ์บางตัว เช่น ฮาร์ดดิสก์ หรือซีพียู ที่ต้องอาศัยไฟในชั่วขณะหนึ่ง ก่อนที่จะเปิดเครื่อง (วิธีดูง่ายๆ จะมีสวิตซ์ปิดเปิด จากพาวเวอร์ซัพพลายติดมาด้วย)
  • ATX เป็นแหล่งจ่ายไฟที่นิยมใช้ในปัจจุบัน โดยมีการพัฒนาจาก AT โดยเปลี่ยนปุ่มปิด - เปิด ต่อตรงกับส่วนเมนบอร์ดก่อน เพื่อให้ยังคงมีกระแสไฟหล่อเลี้ยงอุปกรณ์ก่อนที่จะปิดเครื่อง ทำให้ลดอัตราเสียของอุปกรณ์ลง โดยมีรุ่นต่างๆ ดังนี้
  • ATX 2.01 แบบ PS/2 ใช้กับคอมพิวเตอร์ทั่วๆไปที่ใช้ตัวถังแบบ ATX สามารถใช้ได้กับเมนบอร์ดแบบ ATX และ Micro ATX
  • ATX 2.03 แบบ PS/2 ใช้กับคอมพิวเตอร์แบบ Server หรือ Workstation ที่ใช้ตัวถังแบบ ATX (สังเกตว่าจะมีสายไฟเพิ่มอีกหนึ่งเส้น ที่เรียกว่า AUX connector)
  • ATX 2.01 แบบ PS/3 ใช้กับคอมพิวเตอร์ที่ใช้ตัวถังแบบ Micro ATX และเมนบอร์ดแบบ Micro ATX เท่านั้น 

ส่วนต่างๆ ของพาวเวอร์ซัพพลาย

  • ไฟกระแสสลับขาเข้า (AC Input) พลังงานไฟฟ้าในส่วนนี้ จะมาจากปลั๊กไฟ โดยที่รู้แล้วว่าไฟที่ใช้กันอยู่จะเป็นไฟฟ้ากระแสสลับที่มีขนาดแรงดัน 220v ความถี่ 50 Hz เมื่อเสียบปลั๊กไฟกระแสไฟฟ้าก็จะวิ่งตามตัวนำเข้ามายังเครื่องใช้ไฟฟ้า
  • ฟิวส์ (Fuse) เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการป้องกันวงจรพาวเวอร์ซัพพลายทั้งหมดให้รอดพ้นอันตราย จากกระแสไฟแรงสูงที่เกิดขึ้นจากการถูกฟ้าผ่า หรือกระแสไฟฟ้าแรงสูงในรูปแบบต่างๆ โดยหากเกิดกระแสไฟฟ้าแรงสูงเกินกว่าที่ฟิวส์จะทนได้ ฟิวส์ตัวนี้ก็จะตัดในทันทีทันใด
  • วงจรกรองแรงดัน วงจรกรองแรงดันนี้จะทำหน้าที่กรองแรงดันไฟไม่ว่าจะเป็นแบบกระแสสลับ หรือกระแสตรงก็ตาม ที่เข้ามาให้มีความบริสุทธิ์จริงๆ เพื่อป้องกันแรงดันไฟฟ้าที่ผิดปกติเช่นไฟกระชาก ซึ่งจะเป็นผลให้วงจรต่างๆ ในพาวเวอร์ซัพพลายเกิดความเสียหายขึ้นได้
  • ภาคเรคติไฟเออร์ (Rectifier) หลังจากที่ไฟกระแสสลับ 220v ได้วิ่งผ่านฟิวส์ และวงจรกรองแรงดันเรียบร้อยแล้วก็จะตรงมายังภาคเรคติไฟเออร์ โดยหน้าที่ของเจ้าเรคติไฟเออร์ ก็คือ การแปลงไฟกระแสสลับ ให้มาเป็นไฟกระแสตรง ซึ่งก็ประกอบไปด้วย
  • ตัวเก็บประจุ (Capacitor) จะทำหน้าที่ทำปรับให้แรงดันไฟกระแสตรงที่ออกมาจากบริดเรคติไฟเออร์ ให้เป็นไฟกระแสตรงที่เรียบจริงๆ
  • ไดโอดบริดจ์เรคติไฟเออร์ (Bridge Rectifier) ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของตัว IC หรือแบบที่นำไดโอด 4 ตัวมาต่อกันให้เป็นวจรบริดจ์เรคติไฟเออร์
  • วงจรสวิตชิ่ง (Switching) เป็นวงจรที่ใช้ในการทำงานร่วมกับวงจรควบคุม (Contrlo Circuit) เพื่อตรวจสอบว่าควรจะจ่ายแรงดันทั้งหมดให้กับระบบหรือไม่ โดยถ้าวงจรควบคุมส่งสัญญาณมาให้กับวงจรสวิตซิ่งว่าให้ทำงาน ก็จะเริ่มจ่ายแรงดันไฟฟ้าที่ได้จากภาคเรคติไฟเออร์ไปให้กับหม้อแปลงต่อไป
  • หม้อแปลงไฟฟ้า (Transformer) หม้อแปลงที่ใช้ในวงจรสวิตชิ่งซัพพลายจะเป็นหม้อแปลงที่มีหน้าที่ในการแปลงไฟที่ได้จากภาคสวิตชิ่ง ซึ่งก็รับแรงดันไฟมาจากภาคเรติไฟเออร์อีกต่อหนึ่ง โดยแรงดันไฟฟ้ากระแสงตรงที่มีค่าแรงดันสูงขนาดประมาณ 300 v ดังนั้นหม้อแปลงตัวนี้ก็จะทำหน้าที่ในการแปลงแรงดันไฟกระแสตรงสูงนี้ให้มีระดับแรงดันที่ลดต่ำลงมา เพื่อที่จะสามารถใช้งานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ ก่อนที่จะส่งไปให้วงจรควบคุมแรงดันต่อไป
  • วงจรควบคุมแรงดัน (Voltage Control) เป็นวงจรที่จะกำหนดค่าของแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงที่ได้รับมาจากหม้อแปลงไฟฟ้า เพื่อที่จะให้ได้ระดับแรงดันที่เหมาะสมกับอุปกรณ์ต่างๆ โดยค่าของระดับแรงดันไฟฟ้านี้ก็จะมีขนาด 5v และ 12v สำหรับพาวเวอร์ซัพพลายที่ใช้กับเมนบอร์ดแบบ AT แต่ถ้าเป็นพาวเวอร์ซัพพลายที่ใช้กับเมนบอร์ดที่เป็นแบบ ATX ก็จะต้องมีวงจรควบคุมแรงดันให้ออกมามีขนาด 3.3v เพิ่มอีกหนึ่ง (ซึ่งซีพียูรุ่นเก่าที่ใช้แรงดันไฟขนาด 3.3 v นี้ก็สามารถที่จะดึงแรงดันไฟในส่วนนี้ไปเลี้ยงซีพียูได้เลย)
  • วงจรควบคุม เป็นวงจรที่ใช้ในการควบคุมวงจรสวิตชิ่ง ว่าจะให้ทำการจ่ายแรงดันไปให้กับหม้อแปลงหรือไม่ และแน่นอนว่าในส่วนนี้จะทำงานร่วมกับวงจรลอจิกที่อยู่บนเมนบอร์ด เมื่อวงจรลอจิกส่งสัญญาณกลับมาให้แก่วงจรควบคุม วงจรควบคุมก็จะสั่งการให้วงจรสวิตชิ่งทำงาน 

หลักการทำงานของพาวเวอร์ซัพพลาย

พาวเวอร์ซัพพลาย ทั้งแบบ AT และ ATX นั้นมีลักษณะการทำงานที่เหมือนกัน คือรับแรงดันไฟจาก 220-240 โวลต์ โดยผ่านการควบคุมด้วยสวิตช์ สำหรับ AT และเมนบอร์ด แล้วส่งแรงดันไฟส่วนหนึ่งกลับไปที่ช่อง AC output เพื่อเลี้ยงตัวมอนิเตอร์ และจะส่งแรงดันไฟ 220 โวลต์ อีกส่วนหนึ่งเข้าสู่หน่วยการทำงานที่ทำหน้าที่แปลงแรงดันไฟสลับ 220 โวลต์ ให้เป็นไฟกระแสตรง 300 โวลต์ โดยไม่ผ่านหม้อแปลงไฟ ระบบนี้เรียกว่า (Switching power supply ) และผ่านหม้อแปลงที่ทำหน้าที่แปลงไฟตรงสูงให้เป็นไฟตรงต่ำ โดยจะฝ่านชุดอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่กำหนดแรงดันไฟฟ้าอีกชุดหนึ่งแบ่งให้เป็น 5 และ 12 ก่อนที่จะส่งไปยังสายไฟและตัวจ่ายต่างๆ โดยความสามารถพิเศษของ Switching power supply ก็คือ มีชุด Switching ที่จะทำการตัดไฟเลี้ยงออกทันทีเมื่อมีอุปกรณ์ที่โหลดไฟตัวใดตัว หนึ่งชำรุดเสียหาย หรือช็อตนั่นเอง


  • -12V ไฟ-12V ใช้สำหรับสัญญาณเชื่อมต่อของพอร์ตอนุกรม (serial port หรือ com port) คู่กับไฟ +12V เท่านั้นซึ่งสัญญานี้แทบจะไม่ได้ใช้แล้วในปัจจุบัน ถ้าใช้ก็ไม่มากนัก จึงมีกระแสที่จ่ายออกมาได้ไม่เกิน 1 แอมป์เท่านั้น
  • -5V เมื่อก่อนนี้ไฟ –5โวลต์ ใช้กับไดรว์ฟล็อปปี้ดิสก์และวงจรของการ์ด ISA บางตัว ซึ่งต้องการกระแสไม่มากนัก จึงจำกัดอยู่ทีไม่เกิน 1 แอมป์เท่านั้น
  • OV หมายถึง กราวนด์ ซึ่งใช้เทียบกับสัญญาณไฟต่าง ๆ ในเครื่อง
  • +3.3V เป็นแรงดันใหม่ที่เพิ่งมีในยุคหลังที่ซีพียูเริ่มทำงานที่แรงดันไฟต่ำกว่า 5โวลต์ ยุค Pentium เป็นต้นมา) มาตรฐานนี้เริ่มถูกกำหนดในเพาเวอร์
  • +5V ไฟ +5V ซึ่งเดิมมีบทบาทมากในเครื่องและเพาเวอร์ซัพพลายแบบ ATก็ยังคงต้องใช้อยู่มากในปัจจุบันสำหรับเมนบอร์ดและไดรว์ต่าง ๆ ซึ่งยังทำงานที่ 5 โวลต์อยู่
  • +12V ไฟ + 12V เป็นแรงดันไฟสำหรับมอเตอร์ของดิสก์และพัดลมเป็นหลักนอกนั้นก็จะมีอุปกรณ์อื่น ๆ ได้แก่ สัญญาณพอร์ตอนุกรมและการ์ดบางตัวที่ยังต้องการใช้อยู่  

Power Supply ATX Connector 20,24 PIN

 เกริ่นก่อนว่า PSU เป็นอุปกรณ์ที่หลายๆคนมองข้ามและไม่ค่อยเห็นความสำคัญ แต่จงรู้ไว้เถิดว่าการเลือกใช้ PSU คุณภาพต่ำคือต้นเหตุแห่งปัญหา 108 อย่าง และเป็นตัวบั่นทอนอายุการใช้งานอุปกรณ์อื่นๆภายในคอมพิวเตอร์ตัวเก่งของเรา ดังนั้นเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาสำหรับคอมเกมอย่างเราๆ ผมแนะนำให้เน้นไปที่ PSU ที่มีมาตรฐานและเครื่องหมาย 80plus หรือ 80+ ซึ่งเป็นเครื่องการันตีว่า ประสิทธิภาพในการจ่ายไฟแน่นอน รองรับ full-load หรือภาระในการจ่ายไฟสูงสุดคงที่แน่นอน หรือที่คนเล่นคอมส่วนใหญ่เรียกกันว่าเป็น PSU "วัตต์เต็ม" โดยจะเห็นเครื่องหมายดังนี้ติดอยู่ข้างกล่อง

Image 
80+
percent loading 100% , efficiency > 80%
Image
80+ bronze
percent loading 100% , efficiency > 82%
Image
80+ silver
percent loading 100% , efficiency > 85%
Image
80+ gold
percent loading 100% , efficiency > 87%

Image
80+ platinum
percent loading 100% , efficiency > 89%

ไล่เรียงตามประสิทธิภาพน้อยไปมาก นะครับ ตัวที่มีเครื่องหมาย platinum ถือว่าดีสุดๆแล้ว

โดยเราสามารถตรวจสอบรุ่นของ PSU ที่ได้รับเครื่องหมายนี้จริงหรือไม่ที่ link นี้ครับ http://www.plugloadsolutions.com/80Plus ... plies.aspx

การเลือกโดยการคำนวณกำลังไฟที่ต้องใช้ วิธีง่ายๆคือไปที่ link นี้ครับ >> http://www.antec.outervision.com/
จากนั้นเลือกอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ของคุณลงไป แล้วกด calculate ก็จะแสดงกำลังวัตต์ที่ต้องการครับ เอาไว้สำหรับเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการเลือกซื้อนะครับ ยังไงก็แล้วแต่อาจจะต้องเผื่อกำลังวัตต์ในการเลือกซื้อไว้ด้วย การซื้อให้ใกล้เคียงนั้นอาจจะไม่ใช่วิธีที่ถูกต้อง ควรจะต้องเผื่อไว้ 100W เป็นอย่างน้อยนะครับ

สำหรับคนที่คิดจะประกอบคอมใหม่ๆไม่ค่อยมีความรู้เรื่องอุปกรณ์คอมพิวเตอร์มากนัก ผมมีคำแนะนำง่ายๆกรณีที่เป็นคอมพิวเตอร์ประกอบงบประมาณไม่มาก อาจจะเลือกใช้ PSU ธรรมดาๆแต่วัตต์สูงๆไว้ก่อนได้ครับ แต่เน้นยี่ห้อและการรับประกันเป็นหลัก อาจจะทำให้สบายใจขึ้นมา

 ประสิทธิภาพของPowerSupply



การใช้มิเตอร์วัดไฟ Power Supply

ดำ + ดำ = 0 V
ดำ + แดง = 5 V
ดำ + ขาว = -5 V
ดำ + น้ำเงิน = -12 V
ดำ + ส้ม = 5 V
ดำ + เหลือง = 3.3 V
ดำ + น้ำตาล = 12 V

* เข็มมิเตอร์ตีกลับ ให้กลับสาย ใช้ค่า ติด -

*AC=220 V (L กับ N)
L1 380 Vac
L2 380 Vac
L3 380 Vac
N Nutron , G ไม่มีไฟ
*230W (23A) - 300W (30A)
โดย W=V*I

วันพุธที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2560

วิเคราะห์ 7th Generation Intel® Core™ i7 Processors

 7th Generation Intel® Core™ i7 Processors

  • คอลเลกชั่นผลิตภัณฑ์  -  7th Generation Intel® Core™ i7 Processors
  • ชื่อรหัส  -  Kaby Lake เดิมของผลิตภัณฑ์
  • เซ็กเมนต์แนวตั้ง -  Desktop
  • หมายเลขโปรเซสเซอร์  -  i7-7700
  • สถานะ  -  Launched
  • วันที่วางจำหน่าย  -  Q1'17
  • การทำลวดลายวงจร  -  14 nm
  • ราคาที่แนะนำสำหรับลูกค้า  -  $303.00 - $312.00

ประสิทธิภาพ



  • # คอร์  -  4
  • # เธรด  -  8
  • ความถี่พื้นฐานของโปรเซสเซอร์  -  3.60 GHz
  • ความถี่เทอร์โบสูงสุด  -  4.20 GHz
  • แคช  -  8 MB SmartCache
  • ความเร็ว Bus  -  8 GT/s DMI3
  • # ลิงก์ QPI  -  0
  • TDP  -  65 W

ข้อมูลจำเพาะหน่วยความจำ

  • ขนาดหน่วยความจำสูงสุด (ขึ้นอยู่กับประเภทของหน่วยความจำ)  -  64 GB
  • ประเภทของหน่วยความจำ  -  DDR4-2133/2400, DDR3L-1333/1600 @ 1.35V
  • # แชนเนลหน่วยความจำสูงสุด  -  2
  • รองรับหน่วยความจำ ECC   -  ไม่ใช่

ข้อมูลจำเพาะระบบกราฟิก

  • กราฟิกโปรเซสเซอร์   -  Intel® HD Graphics 630
  • ความถี่พื้นฐานสำหรับกราฟิก  -  350.00 MHz
  • ความถี่แบบไดนามิกสูงสุดสำหรับกราฟิก  -  1.15 GHz
  • หน่วยความจำสูงสุดของวิดีโอกราฟิก  -  64 GB
  • การสนับสนุน 4K  -  Yes, at 60Hz
  • ความละเอียดสูงสุด (HDMI 1.4)‡     - 4096x2304@24Hz
  • ความละเอียดสูงสุด (DP)‡  -  4096x2304@60Hz
  • ความละเอียดสูงสุด (eDP  -  Integrated Flat Panel)‡  - 4096x2304@60Hz
  • การสนับสนุน DirectX*  -  12
  • การสนับสนุน OpenGL*  -  4.4
  • Intel® Quick Sync Video  -   ใช่
  • เทคโนโลยี Intel® InTru™ 3D  -   ใช่
  • Intel® Clear Video HD Technology  -  ใช่
  • Intel® Clear Video Technology  -   ใช่
  • # ของจอแสดงผลที่รองรับ   -   3
  • ID อุปกรณ์  -  0x5912

ตัวเลือกการขยาย

  • ความสามารถในการปรับขนาด  -  1S Only
  • การปรับปรุงแก้ไข PCI Express  -  3.0
  • การกำหนดค่า PCI Express   -  Up to 1x16, 2x8, 1x8+2x4
  • # สูงสุดของเลน PCI Express  -  16

ข้อมูลจำเพาะของแพ็คเกจ

  • รองรับซ็อกเก็ต  -  FCLGA1151
  • การปรับตั้งค่า CPU สูงสุด  -  1
  • ข้อมูลจำเพาะของชุดระบายความร้อน  -  PCG 2015C (65W)
  • TJUNCTION  -  100°C
  • ขนาดแพ็คเกจ  -  37.5mm x 37.5mm
  • มีตัวเลือกชนิดฮาโลเจนต่ำให้เลือกใช้  -  ดู MDDS

เทคโนโลยีขั้นสูง

  • สนับสนุนหน่วยความจำ Intel® Optane™   -  ใช่
  • เทคโนโลยี Intel® Turbo Boost   -   2.0
  • เทคโนโลยี Intel® vPro™   -  ใช่
  • Intel® Hyper-Threading Technology   -  ใช่
  • เทคโนโลยีเวอร์ชวลไลเซชัน Intel® (VT-x)   -  ใช่
  • เทคโนโลยีเวอร์ชวลไลเซชัน Intel® สำหรับ Directed I/O (VT-d)   -  ใช่
  • Intel® VT-x ที่มี Extended Page Tables (EPT)   -  ใช่
  • Intel® TSX-NI  -  ใช่
  • Intel® 64   -  ใช่
  • ชุดคำสั่ง  -  64-bit
  • ส่วนขยายชุดคำสั่ง  -   SSE4.1/4.2, AVX 2.0
  • สถานะไม่ได้ใช้งาน  -  ใช่
  • Enhanced Intel SpeedStep® Technology  -   ใช่
  • เทคโนโลยีการติดตามความเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ  -  ใช่
  • เทคโนโลยีการป้องกันข้อมูลส่วนตัวจาก Intel®   -  ใช่
  • Intel® Stable Image Platform Program (SIPP)  -  ใช่

Intel® Data Protection Technology

  • คำสั่งใหม่ของ Intel® AES  -  ใช่
  • Secure Key  -  ใช่
  • Intel® Software Guard Extensions (Intel®SGX)  -   ใช่
  • Intel® Memory Protection Extensions (Intel® MPX)  -   ใช่

Intel® Platform Protection Technology

  • OS Guard  -  ใช่
  • Trusted Execution Technology   -  ใช่
  • Execute Disable Bit   -  ใช่
  • Intel® Device Protection Technology พร้อมด้วย Boot Guard  -   ใช่

GIGABYTE GA-Z270X-ULTRA GAMING แปลไทย

Model (รุ่น)

Brand : GIGABYTE (ยี่ห้อ)
Model : GA-Z270X-ULTRA GAMING (รุ่น)
Mainboard Chipset : Intel Z270 (ชิปเซ็ตเมนบอร์ด)

Support CPU (รองรับ Cpu)

Socket : LGA1151
CPU Support : Intel 7th/6th Generation Core i7/i5/i3/Pentium/Celeron Processors

Memmory (หน่วยความจำ)

Ram Slot : 4 (จำนวน Slot แรม)
supporting up to : 64GB (ความจุแรมสูงสุด)
memory modules : Dual Channel DDR4 2133 up to 3866(OC)MHz (ชนิดของแรม)

Onboard

VGA Onboard Chip : Intel HD Graphics Processor (ชิป ออนบอร์ด)
Audio Chip : Realtek ALC1220 Audio Codec (ชิปเสียง)
Sound system : 7.1 Channels HD Audio (รองรับระบบเสียง)

Storage Connector()

Port SATA 2 : 0
Port SATA 3 : 6
M.2 Slot : 1
M.2 Supports type : 2242/2260/2280/22110
Function Support RAID : 0/1/5/10 (รองรับฟังก์ชั่น RAID)

Expansion Slots (ตัวเลือกการขยาย)

Description: 3 Slot PCIe x16,3 Slot PCIe x1 (รายละเอียด)
Support Cross Fire / SLI : 2-Way SLI,2-Way Cross Fire,3-Way Cross Fire (รับรอง Cross Fire / SLI)

Network (เครือข่าย)

Chipset LAN : Intel GbE LAN (ชิปเซ็ต LAN)
Speed LAN : 10/100/1000Mbps (ความเร็ว LAN)

Rear Panel Ports (พอร์ตด้านหลัง)

Port USB 2.0 : 2 Port (พอร์ต USB 2.0)
Port USB 3.0 : 0 Port (พอร์ต USB 3.0)
Port USB 3.1 : Type-A 5 Port / Type-C 1 Port (พอร์ต USB 3.0)
Dsub Output : 0 Port
DVI Output : 1 Port
HDMI Output : 1 Port
Mini HDMI Outputv : 0 Port
Display port : 0 Port
Mini Display port : 0 Port
Audio Output : 5 Port
Port PS2 : 1 Port
Option Port :1x U.2 port, 2 x SATA Express

Physical Spec(ข้อมูลจำเพาะทางกายภาพ)

Board Form Factor : ATX (ชนิดของเมนบอร์ด)
Power socket : 24+8 Pin (ช่องเสียบไฟ)
Size : 30.5 x 24.4 cm (ขนาด)